School of Science Magazine No.6: April - September 2014 | Page 8

08 Cover ดร. รุ่งโรจน์ ฟันเฟืองตัวเล็กขับเคลื่อนกลไก วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ (Earth System Science) ปัจจุบนโลกของเรากำลังเผชิญกับปัญหา ั สิงแวดล้อมทีสำคัญหลายปัญหา เช่น การเสือม ่ ่ ่ โทรมของทรั พ ยากรธรรมชาติ มลพิษทาง สิงแวดล้อม พิบตภยทางธรรมชาติ ภาวะโลกร้อน ่ ัิั (Global Warming) และการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศโลก (Climate Change) ซึ่ง ก่ อ ให้ เ กิ ด ผลกระทบอย่ า งรุ น แรงต่อสุขภาพ อนามัย ชีวต และทรัพย์สนของมนุษย์ ตลอดจน ิ ิ เศรษฐกิจของสังคมโลกอย่างมากด้วย สาเหตุ ของปัญหาเกิดจากทั้งการเปลี่ยนแปลงตาม ธรรมชาติ และ “ผลจากกิจกรรมของมนุษย์” องค์ ก รทางด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ สิ่งแวดล้อมที่สำคัญระดับโลก ได้แก่ NASA (The National Aeronautics and Space Administration), NOAA (National Oceanic and Atmospheric Administration), NSF (National Science Foundation) และ Department of Education and State ของสหรัฐอเมริกา ต่างเห็นว่า ทุกคนบนโลก ควรจะได้เรียนรู้ ตระหนัก และเห็นถึงความ สำคัญของสิ่งแวดล้อมทั้งในระดับท้องถิ่นและ ระดับโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนซึ่งเป็น อนาคตของโลกจะเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดที่จะ ช่วยให้เราสามารถป้องกัน แก้ไข และผ่านพ้น ปัญหาต่างๆ ทีกำลังเกิดขึนได้อย่างยังยืน จึงได้ ่ ้ ่ ริเริ่มโครงการ GLOBE (Global Learning and Observations to Benefit the Environment) ขึ้นในปี พ.ศ. 2537 และ ประเทศไทยได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกโครงการนี้ ในปี พ.ศ. 2542 โดยมีสถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ทำหน้า ทีเป็นผูประสานงานและดำเนินการ เพือส่งเสริม ่ ้ ่ ให้นักเรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ส่งแวดล้อม ิ โลกผ่ า นการศึ ก ษาวิ จั ย ในลั ก ษณะของ วิทยาศาสตร์โลกทังระบบ (Earth System ้ Science: ESS) โดยการศึกษาวิจัยร่วมกัน